TH
EN
Toggle navigation
สมัครเรียน
หน้าแรก
เกี่ยวกับคณะ
ประวัติความเป็นมา
ข้อมูลพื้นฐาน
แผนยุทธศาสตร์
ทำเนียบผู้บริหาร
องค์กร
โครงสร้างองค์กร/โครงสร้างการบริหารงาน
สำนักงานเลขานุการคณะเกษตร กำแพงแสน
ภาควิชากีฏวิทยา
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน
ภาควิชาปฐพีวิทยา
ภาควิชาโรคพืช
ภาควิชาพืชไร่นา
ภาควิชาพืชสวน
ภาควิชาสัตวบาล
ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร
สาขาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร
ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ
> ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
โครงการจัดตั้งภาควิชานวัตกรรมอาหารปลอดภัย
วิจัยและบริการวิชาการ
วิจัย
บริการวิชาการ
คลังความรู้
บริการ
Smart Office
KU
Web KU
Web KU-KPS
Web KU-Mail
นิสิต
อาจารย์
ผู้ปกครอง
International Program
แผนยุทธศาสตร์คณะเกษตร กำแพงแสน พ.ศ. 2567 - 2570
จำนวนผู้เข้าชม 5607 คน (เริ่มนับ 30 มกราคม 2567)
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่ยอมรับของสังคม ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ตลอดจนพัฒนาและส่งเสริมให้มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และองค์ความรู้ใหม่พร้อมถ่ายทอดสู่สังคม
แนวทางการกำหนดแผนยุทธศาสตร์คณะเกษตร กำแพงแสน ฉบับ พ.ศ. 2567 – 2570
เริ่มดำเนินการศึกษาปัจจัยภายนอก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภายนอกและภายในคณะฯ เพื่อนำมาใช้ในการกำหนดหัวข้อที่เกี่ยวข้องต่อการดำเนินงานตามพันธกิจ 4 ด้าน คือ การศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการ และการบริหารจัดการ และกำหนดเป็นความท้าทาย (Challenge) และโอกาส (Opportunity) ซึ่งเมื่อนำมุมมองทั้งภายในและภายนอกมาจัดลำดับความสำคัญและระดับความรุนแรงของผลกระทบทำให้เห็นถึงประเด็นสำคัญที่ควรเร่งดำเนินการนำไปสู่การจัดทำเป็นกลยุทธ์เพื่อแก้ไขปัญหาและใช้เป็นโอกาสในการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ประกอบด้วย 10 กลยุทธ์ และได้จัดกลุ่มเป็น 4 ยุทธศาสตร์เพื่อให้มีแนวทางชัดเจนและสามารถตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ของคณะฯ ได้
ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการในระดับสากล (Excellent Academic) (5 ตัวชี้วัด)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างสรรค์ศาสตร์แห่งแผ่นดินเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน (Excellent Research) (4 ตัวชี้วัด)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพการดำเนินงานตามภารกิจ (Excellent Service) (4 ตัวชี้วัด)
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเพิ่มศักยภาพการบริหารทรัพยากรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง (Excellent Management) (4 ตัวชี้วัด)
โครงการแผนปฏิบัติการตามแผนยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการในระดับสากล (Excellent Academic)
1.พัฒนารายวิชาร่วมกับเครือข่ายด้าน carbon neutrality/เครือข่ายด้าน BCG neutrality หรือรายวิชาในรูปแบบหลักสูตรระยะสั้นทั้ง online / onsite ด้าน food safety, security, well-being และ smart farming เพื่อรองรับการศึกษาตลอดชีวิต
2.โครงการประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุก
3.สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
4.พัฒนาหลักสูตรร่วมกับองค์กรภาครัฐและบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในด้าน precision agriculture, carbon neutrality, BCG เป็นต้น
5.กิจกรรมพัฒนาทักษะวิชาชีพให้กับนิสิต ตลอดจนคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามที่คณะกรรมการอุดมศึกษากำหนด
6.จัดตั้งศูนย์ทดสอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ และห้องปฏิบัติการวิจัยมาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพ
7.แลกเปลี่ยนบุคลากรวิจัย/นิสิตระดับบัณฑิตศึกษากับต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างสรรค์ศาสตร์แห่งแผ่นดินเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน (Excellent Research)
1.สร้างภาพลักษณ์ของการเป็น hi-tech agriculture โดยร่วมมือกับภาคเอกชนที่เชี่ยวชาญด้าน AI, IOT
2.สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรทั้งภายในและภายนอกประเทศ (MOU) เพื่อร่วมวิจัย
3.สร้างความร่วมมือการแลกเปลี่ยนทรัพยากรชีวภาพกับองค์ระดับสากล (MTA)
4.สร้าง cluster วิจัย
5.หาแหล่งทุนวิจัยทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ
6.พัฒนาแปลงทดลองพันธุ์พืชทนการเปลี่ยนแปลงอากาศ และโรงเรือนอัจฉริยะต้นแบบ ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าและอุตสาหกรรมชีวภาพ
7.พัฒนาฟาร์มต้นแบบด้านการเกษตร climate change ส่งเสริม field trial research
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพการดำเนินงานตามภารกิจ (Excellent Service)
1.พัฒนาระบบ mentoring program, short course KM เพื่อเก็บองค์ความรู้ไว้กับองค์กรและสร้าง incentive ให้กับอาจารย์อาวุโส
2.พัฒนา free content เพื่อเป็น teaser ให้คนอยากมาเรียนในระดับที่ advanced มากขึ้นแบบ face-to-face โดยฝาก platform ที่อื่น – reach out mass market and cultivate from organization knowledge
3.พัฒนาระบบนิเวศ ecosystem สภาพแวดล้อม และบรรยากาศให้เอื้อต่อการส่งเสริม brand (brand image, brand recognition, brand value, brand trust, brand loyalty) ในชุมชนที่สำคัญและสังคมในภาพใหญ่
4.พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นร่วมกับบริษัทเอกชนที่เชี่ยวชาญด้าน precision agriculture
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดหาทรัพยากรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง (Excellent Management)
1.ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของคณะให้เป็นที่รู้จัก ยอมรับผ่านสื่อ social media (สร้างนิสิตและบุคลากรให้เป็น net idol)
2.rebranding เพื่อสร้างภาพจำที่แตกต่าง
3.พัฒนาระบบในการบริหารจัดการ digital transformation, business analytics (ให้ระบบมีความเชื่อมโยง สามารถแชร์ฐานข้อมูลร่วมกันได้)
4.สร้างระบบ km portal หรือ องค์ความรู้เพื่อแสดงศักยภาพของหน่วยงาน
5.การบริหารจัดการทรัพยากรของคณะให้เกิดรายได้ (พื้นที่, เครื่องมือ, Lab, สถานที่, บุคคล)