Page 79 - combinepdf_3
P. 79

หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ (Bioresources Conservation and Development Unit)


                         งานวิจัย : ด�าเนินงานวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรชีวภาพและวิทยาศาสตร์การเกษตร เพื่อการพัฒนาสายพันธุ์พืชที่มีความส�าคัญทางเศรษฐกิจด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการ
                     ทางเทคโนโลยีชีวภาพ เซลล์พันธุศาสตร์ และการศึกษาโครงสร้างภายในระดับเซลล์และเนื้อเยื่อพืช

                         งานบริการวิชาการ : ให้บริการกล้องจุลทรรศน์และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบล�าแสงส่องผ่าน หรือ TEM (Transmission Electron Microscope) ให้กับนักเรียน นิสิต / นักศึกษา
                     อาจารย์ และบุคลากรวิจัยทั้งจากหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อสนับสนุนการด�าเนินงานวิจัย ฝึกอบรม และการเรียนการสอน นอกจากนี้ยังมีการให้บริการเตรียม
                     ตัวอย่างเพ่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนท้งแบบลาแสงส่องกราด หรือ SEM (Scanning Electron Microscope) และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบลาแสงส่องผ่าน หรือ TEM
                                                                                                                                       �
                                                         ั
                                                              �
                             ื
                                                               ี
                                                                                             ั
                     (Transmission Electron Microscope) อีกด้วย ตัวอย่างท่ใช้ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมีท้งเซลล์พืช สัตว์ เช้อจุลินทรีย์ สารโพลิเมอร์ เพ่อการศึกษาวิจัยในหลากหลายสาขา เช่น
                                                                                                                             ื
                                                                                                         ื
                     ชีววิทยา พยาธิวิทยา สัตวแพทย์ โรคพืช และวัสดุศาสตร์ เป็นต้น
                                                                                                                         �
                                                                                                                    ี
                         กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบล�าแสงส่องผ่าน หรือ TEM เหมาะสาหรับการศึกษาโครงสร้างภายในของตัวอย่างท่มีความบางพอท่จะให้ลาแสงอิเล็กตรอน
                                                                        �
                                                                                                         ี
                     ส่องทะลุผ่านได้ ลักษณะของภาพที่ปรากฏเป็น 2 มิติ ส�าหรับการเตรียมตัวอย่างเพื่อศึกษาด้วยกล้อง TEM มี 2 แบบ คือ Dip preparation และ Ultrathin section
                              ก. กล้องจุลทรรศน์แบบ Compound พร้อมชุดถ่ายภาพระบบดิจิตอล
                              ข. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบล�าแสงส่องผ่าน (TEM)
                              ค. ภาพตัวอย่างจากการศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ TEM
                         งานสนับสนุนการผลิตบัณฑิต : สนับสนุนการเรียนการสอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับงานด้านกล้องจุลทรรศน์และจุลทรรศน์อิเล็กตรอนให้กับคณาจารย์และนิสิตจากคณะต่าง ๆ
                     ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน และวิทยาเขตก�าแพงแสน
                         ข้อมูลติดต่อ : เว็บไซต์: http://clgc.agri.kps.ku.ac.th/bcd.html  โทร./แฟกซ์ 034-351-399 ภายใน 3682-4


                           นักวิจัย :
                             ดร.อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์                                                    ดร.ปุณยวีร์ เดชครอง
                           วท.บ.(เทคโนโลยีการผลิตพืช) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง                            วท.บ.(เกษตรศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับสอง
                           สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง                               สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
                           วท.ม.(เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์                                    วท.ม.(เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                           ปร.ด.(เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์                           Ph.D.(Agricultural and Environmental Biology) The University of Tokyo, Japan
                           ต�าแหน่ง : นักวิจัย ช�านาญการพิเศษ                                           ต�าแหน่ง : นักวิจัย ช�านาญการ
                           สาขาที่เชี่ยวชาญ : Agricultural biotechnology for plant breeding             สาขาที่เชี่ยวชาญ : เซลล์พันธุศาสตร์และการศึกษาโครงสร้างภายในระดับเซลล์และเนื้อเยื่อพืช
                           Production of double haploid plants: anther culture and ovary culture        การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์พืช
                           E-mail: rdianr@ku.ac.th                                                      E-mail: rdipvd@ku.ac.th

                                                                                                                        FACULTY OF AGRICULTURE AT KAMPHAENG SAEN     85
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84