Page 13 - combinepdf_3
P. 13

ผลงานวิจัย “กระบวนการเพาะเลี้ยงแมลงช้างปีกใส Mallada basalis ( Walker) ในเชิงพาณิชย์” ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร : โดย รองศาสตราจารย์
                                       ดร.วิวัฒน์ เสือสะอาด และคณะ ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา (หมายเลขอนุสิทธิบัตร 8698 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557)



                     พ.ศ. 2558
                               ศาสตราจารย์ ดร.พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์ อาจารย์ประจ�าภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร ก�าแพงแสน เข้ารับรางวัล
                                                                               �
                     ความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน ประจาปี 2014 (The International Science
                     and Technology Cooperation Award of The People's Republic of China) ที่จัดขึ้น ณ ศาลามหาประชาคม (The Great
                     Hall of the People) กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2558 โดยประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ประธานาธิบดี
                     สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประธานในการมอบรางวัล


                                                                                        �
                                                                                                                           ้
                                                                                                            ั
                                                                                    ั
                                                                               ั
                                                                                      ุ
                                                                                      ์
                                                                                                                                        ์
                                                                                                                                            ั
                                                                                                                            ่
                                                                                                                           ู
                                                                                                                                                   ุ
                                                                                                                                                ี
                                                                               ฟกทองพนธ กาแพงแสน-10R (KPS-10R) รบประทานสด : โดย ผชวยศาสตราจารย ดร.อญมณ อาวชานนท  ์
                                                                                                                                             ื
                                                                    เป็นฟักทองพันธุ์ผสมเปิด ลักษณะโดดเด่นคือทรงผลแป้น ผิวเรียบ เม่ออ่อนผิวมีสีเขียวเข้มเป็นมัน สีเน้อเป็นสีเหลืองส้ม
                                                                                                                      ื
                                                                                                                      �
                                                                                                                      ้
                                                                    มีปริมาณเบต้าแคโรทีนสูงอยู่ระหว่าง 1.0-1.6 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมนาหนักสด ซ่งสูงกว่าฟักทองไทยส่วนใหญ่ 2-3 เท่า
                                                                                                                              ึ
                                                                    สามารถรับประทานสดได้ มีความทนทานต่อโรคไวรัสได้ในระดับปานกลาง
                                                                                            ิ
                                                                                                              ู
                                 ี
                                                          ้
                                                          ื
                                       ้
                                       ื
                                   ั
                                                                 ี
                                                                     ิ
                                                                        ั
                                                                ี
                                ชวภณฑ์เชอราไตรโคเดอร์มา และเชอแบคทเรยบาซลลส โดย ศาสตราจารย์ ดร.จระเดช แจ่มสว่าง และ ผ้ช่วยศาสตราจารย์
                     ดร.วรรณวิไล อินทนู ใช้ควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้หลายชนิด ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ตลอดจนพืชที่ปลูกในวัสดุไร้ดินและในสารละลายธาตุอาหาร
                     (ไฮโดรโพนิกส์)
                                                         พ.ศ. 2559
                                                                   ชีวภัณฑ์จากเชื้อรา Myrothecium roridum ในการควบคุมผักตบชวา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.จินตนา อันอาตม์งาม
                                                         ได้รับรางวัลระดับดีเด่น รางวัลผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจ�าปี 2559 และ รางวัลชนะเลิศ รางวัลการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรม
                                                                                                                                         �
                                                                       �
                                                                                             ื
                                                                               ื
                                                         สายอุดมศึกษา ประจาปี 2559 เร่อง “ชีวภัณฑ์จากเช้อรา Myrothecium roridum ในการควบคุมผักตบชวา” จากสานักงานคณะกรรมการ
                                                         วิจัยแห่งชาติ (วช.) ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2559
                                                                                                                        FACULTY OF AGRICULTURE AT KAMPHAENG SAEN     19
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18