Page 16 - combinepdf_3
P. 16
พ.ศ. 2563
“อุปกรณ์วัดความยาวท่อนอ้อยชนิดพกพา และ อุปกรณ์วัดความยาวท่อนอ้อยแบบอิเล็กทรอนิกส์” ผลงานโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.สมบัติ ขาวประทีป และคณะ ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร ก�าแพงแสน
ั
อุปกรณ์วัดความยาวท่อนอ้อยชนิดพกพา ผลงานของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ขาวประทีป รองศาสตราจารย์ ดร.รัตนา ต้งวงศ์กิจ
รองศาสตราจารย์ พงศ์ศักดิ์ ชลธนสวัสดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชุติ ม่วงประเสริฐ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นนทวัชร์ ชัยณรงค์ เป็นเครื่องมือวัด
ี
ื
แบบง่าย แบบพกพา และทนทานต่อการท�างานในไร่อ้อย เพ่อใช้ในการวัดและเก็บตัวอย่างอ้อยท่อนในช่วงความยาวอ้อยท่อนท่เกิดจากการตัดด้วย
ั
ึ
รถตัดอ้อยท่อนในภาคสนาม โดยท�าจากไม้อัด วัดได้รวดเร็วกว่าการวัดด้วยตลับเมตรวัดระยะท่วไป และสามารถปฏิบัติงานได้โดยบุคคลเดียว ซ่งจะ
ื
ื
ช่วยลดเวลาในการปฏิบัติงาน จ�านวนผู้ปฏิบัติงานวัดความยาวท่อนอ้อยและความคลาดเคล่อนของข้อมูลได้ระดับหนึ่ง เน่องจากความเหน่อยล้าจาก
ื
การวัดตัวอย่างที่มีจ�านวนมาก อีกทั้งสามารถส่งผลข้อมูลที่ได้รวดเร็วขึ้น เพิ่มใช้ปรับแต่งอุปกรณ์ต่าง ๆ ของรถตัดอ้อยในขณะที่ปฏิบัติงานในแปลงอ้อย
(เลขที่อนุสิทธิบัตร 16297 ออกให้เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2563)
อุปกรณ์วัดความยาวท่อนอ้อยแบบอิเล็กทรอนิกส์ ผลงานของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ขาวประทีป รองศาสตราจารย์ ดร.รัตนา
ตั้งวงศ์กิจ รองศาสตราจารย์ พงศ์ศักดิ์ ชลธนสวัสดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชุติ ม่วงประเสริฐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นนทวัชร์ ชัยณรงค์ และ นาย
ี
ี
สมหวัง หลีค้า เป็นการช่วยสนับสนุนการวัดเพ่อเก็บค่าข้อมูลงานวิจัยท่เก่ยวข้องกับขนาดความยาวท่อนอ้อย การเตรียมท่อนพันธุ์อ้อยจากรถตัดอ้อยท่อน
ื
นับว่าเป็นอีกก้าวหน่งของนวัตกรรมวัดความยาวท่อนอ้อยส�าหรับตัดอ้อยท่อนส่งโรงงาน ส่งผลต่อการพัฒนารถตัดอ้อยในประเทศ รวมถึงเป็นการส่งเสริมการใช้รถตัดอ้อยให้เกิดประสิทธิภาพ
ึ
ได้มากขึ้นอีกด้วย (เลขที่อนุสิทธิบัตร 17105 ออกให้เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2563)
งานวิจัยทั้ง 2 ผลงาน ได้รับทุนสนับสนุนการท�าวิจัย จากโครงการพัฒนาเพื่อปรับโครงสร้างการปรับปรุงพันธุ์อ้อย และพัฒนาระบบการบริหารจัดการผลิตอ้อยอย่างครบวงจร ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2564
อนุสิทธิบัตร “กรรมวิธีการผลิตเส้นใยปานศรนารายณ์ทอร่วมกับฝาย” ผลงานโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชิดพงษ์ ขีระจิตต์ ภาควิชา
ื
ส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร และคณะ จากท�าการวิจัย เร่อง “การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ปานศรนารายณ์เพ่อเพ่มมูลค่าสินค้าทางการตลาด
ิ
ื
ื
ออนไลน์” ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยตามโครงการ Innovation Hubs เพ่อสร้างเศรษฐกิจนวัตกรรมของประเทศ
ุ
ึ
�
ั
่
ุ
ตามนโยบาย 4.0 กล่มเรองเศรษฐกจสร้างสรรค์ (Creative Economy) สานกงานคณะกรรมการการอดมศกษา
ื
ิ
ได้พัฒนาต้นแบบนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ป่านศรนารายณ์ โดยท�าการคิดค้นกระบวนการในการน�าฝ้ายมาทอร่วมกับป่าน
ศรนารายณ์ เพื่อแก้ปัญหาในเรื่องของความแข็งกระด้างของป่านศรนารายณ์ให้มีความอ่อนนุ่มลง สามารถน�ามาตัดเย็บ
เป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น กระเป๋า รองเท้า หมวก เป็นต้น และได้รับการจดอนุสิทธิบัตรเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564
เลขที่อนุสิทธิบัตร 17517
22 คณะเกษตร ก�าแพงแสน